Web Analytics
CONTACT | TEL : 02-728-3440, EMAIL : SALES@ASTRONLOGIC.COM | Cart 0
หนังสือ ทฤษฎีและการทดลองวงจรดิจิทัล FPGA

» Books

book-exp-fpga.jpg

214

หนังสือ ทฤษฎีและการทดลองวงจรดิจิทัล FPGA

229.00 บาท


จำนวน

(ราคาไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)

ราคาต่อหน่วย: pc.

จำนวนขั้นต่ำในการสั่งซื้อ: 1

ภาษีมูลค่าเพิ่ม: 7%


Add to cart success!

» FEATURES

เนื้อหาภายในประกอบด้วย
บทนำ
  • ประเภทของ ASIC
  • ทำความรู้จักกับ FPGA
  • การแบ่งชนิดของ FPGA ตามรูปแบบการจัดวางลอจิกบล็อค
  • การแบ่งชนิดของ FPGA ตามเทคโนโลยีที่ใช้ในการโปรแกรม
  • ปัจจัยที่ทำให้การออกแบบ FPGA ทำได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
  • เครื่องมือสำหรับการออกแบบ FPGA
  • Quartus Prime
  • ขั้นตอนการใช้ออกแบบวงจรโดยใช้ Quartus Prime โดยสรุป
บทที่ 1 Logic Gate พื้นฐาน
  • ทฤษฎี
  • 1. คำจำกัดความของระดับลอจิกในวงจรดิจิทัล
  • 2. แอนด์เกท (AND Gate)
  • 3. ออร์เกท (OR Gate)
  • 4. นอตเกท (NOT Gate)
  • 5. แนนด์เกท (NAND Gate)
  • 6. นอร์เกท (NOR Gate)
  • 7. เอ็กซ์คลูซีฟออร์เกท (Exclusive-OR Gate)
  • 8. เอ็กซ์คลูซีฟนอร์เกท (Exclusive-NOR Gate)
  • การทดลอง
บทที่ 2 ลอจิกเกทที่มีเอาท์พุท 3 สถานะ (Tristate Logic)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 การทำงานของลอจิกเกทที่มี 3 สถานะ
  • การทดลองตอนที่ 2 การนำลอจิกเกทที่มี 3 สถานะมาประยุกต์ในการส่งข้อมูลบนบัสร่วมกัน
บทที่ 3 วงจรเข้ารหัส (Encoder)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรเข้ารหัส 4 สายเป็น 2 สาย
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้ไอซีวงจรเข้ารหัส 74148
บทที่ 4 วงจรถอดรหัส (Decoder)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรถอดรหัส 2 สายเป็น 4 สาย
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้ไอซีวงจรถอดรหัส 7447
บทที่ 5 วงจรมัลติเพล็กซ์ (Multiplexer)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรมัลติเพล็กซ์ 2 สายเป็น 1 สาย
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้ไอซีวงจรมัลติเพล็กซ์ 74153
บทที่ 6 วงจรดีมัลติเพล็กซ์ (Demultiplexer)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรดีมัลติเพล็กซ์ 1 สายเป็น 2 สาย
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้ไอซีวงจรดีมัลติเพล็กซ์ 74155
บทที่ 7 วงจรเปรียบเทียบ (Comparator)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรเปรียบเทียบพื้นฐาน
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้ไอซีวงจรเปรียบเทียบ 7485
บทที่ 8 วงจรบวกเลขฐานสอง (Adder)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจร Half Adder
  • การทดลองตอนที่ 2 วงจร Full Adder
  • การทดลองตอนที่ 3 การใช้งานไอซี Full Adder 7483
บทที่ 9 วงจรลบเลขฐานสอง (Subtractor)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจร Half Subtractor
  • การทดลองตอนที่ 2 วงจร Full Subtractor
  • การทดลองตอนที่ 3 การใช้งานไอซี 7483 เพื่อสร้างเป็นวงจรลบ
บทที่ 10 แลตช์ และ ฟลิปฟลอป (Latch and Flip-Flop)
  • ทฤษฎี
  • แลตช์ (Latch)
  • แลตช์ชนิด Gated S-R
  • แลตช์ชนิด Gated D
  • ฟลิปฟลอป
  • ฟลิปฟลอปแบบ D
  • ฟลิปฟลอปแบบ S-R
  • ฟลิปฟลอป J-K
  • ฟลิปฟลอป T
  • ฟลิปฟลอป T แบบมีสัญญาณนาฬิกา
  • อินพุทแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Input)
  • การทดลองตอนที่ 1 แลตช์ S-R แบบแอคทีฟไฮ
  • การทดลองตอนที่ 2 แลตช์ S-R แบบแอคทีฟโลว์
  • การทดลองตอนที่ 3 แลตช์แบบ Gated S-R ที่สร้างจากแลตช์ S-R ชนิดแอคทีฟไฮ
  • การทดลองตอนที่ 4 แลตช์แบบ Gated S-R ที่สร้างจากแลตช์ S-R ชนิดแอคทีฟโลว์
  • การทดลองตอนที่ 5 แลตช์แบบ Gated D
  • การทดลองตอนที่ 6 แลตช์แบบ Gated D และฟลิปฟลอป D
  • การทดลองตอนที่ 7 ฟลิปฟลอบแบบ J-K
  • การทดลองตอนที่ 8 ฟลิปฟลอบแบบ T
บทที่ 11 วงจรนับแบบอะซิงโครนัส (Asynchronous Counter)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรนับอะซิงโครนัส แบบนับลง
  • การทดลองตอนที่ 2 วงจรนับอะซิงโครนัส แบบนับขึ้น
บทที่ 12 วงจรนับแบบซิงโครนัส (Synchronous Counter)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรซิงโครนัส 3 บิต แบบใช้ JK ฟลิปฟลอป
  • การทดลองตอนที่ 2 วงจรซิงโครนัส 3 บิต แบบใช้ D ฟลิปฟลอป
บทที่ 13 วงจรนับในรูปแบบไอซีสำเร็จรูป
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 การใช้งานไอซี 7493 เป็นวงจรนับ MOD-10
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้งานไอซี 74190
บทที่ 14 วงจรเลื่อนข้อมูล (Shift Register)
  • ทฤษฎี
  • การทดลองตอนที่ 1 วงจรเลื่อนข้อมูลแบบใช้ฟลิปฟลอป
  • การทดลองตอนที่ 2 การใช้ไอซี 74149 เป็นวงจรเลื่อนซ้ายแบบ SISO และ SIPO
  • การทดลองตอนที่ 3 การใช้ไอซี 74149 เป็นวงจรเลื่อนขวาแบบ SISO และ SIPO
  • การทดลองตอนที่ 4 การใช้ไอซี 74149 เป็นวงจรโหลดข้อมูลแบบขนาน
ภาคผนวก
  • บอร์ดทดลอง WARRIOR MAX-X LAB01

» Description

FPGA (Field-Programmable Gate Array) คือ วงจรรวมดิจิทัลอเนกประสงค์ที่ผู้ใช้สามารถปรับแต่งฟังก์ชันการทำงานได้ตามต้องการ ทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการนำไปใช้งานที่หลากหลายตั้งแต่วงจรลอจิกอย่างง่ายจนถึงวงจรที่ซับซ้อน เช่น วงจรประมวลผลสัญญาณดิจิทัล หรือวงจรที่ใช้ใน งานปัญญาประดิษฐ์ ความยืดหยุ่นของ FPGA ทำให้มันแตกต่างจากชิปประมวลผลอื่นๆ เช่น CPU หรือ GPU ซึ่งมีการกำหนดโครงสร้างและฟังก์ชันการทำงานไว้ล่วงหน้าแล้ว จุดเด่นของ FPGA คือ ความสามารถในการทำงานแบบขนาน ทำให้สามารถจัดการกับข้อมูลปริมาณมหาศาลและงานที่ต้องการความเร็วสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ FPGA ยังเหมาะสำหรับงานที่ต้องการความเฉพาะเจาะจง เนื่องจากผู้ใช้สามารถปรับแต่งวงจรให้ตรงกับความต้องการของแต่ละงานได้ ด้วยเหตุนี้ FPGA จึงถูกนำไปใช้ในหลากหลายอุตสาหกรรมตั้งแต่ การสื่อสารโทรคมนาคม การแพทย์ ไปจนถึงเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ FPGA จึงเป็นการเปิดประตูสู่โลกของเทคโนโลยีขั้นสูงและช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ได้อย่างไม่จำกัด

หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับ นักศึกษา วิศวกร และผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงกับวงจรดิจิทัล โดยใช้บอร์ดทดลอง FPGA รุ่น WARRIOR MAX-X LAB01 ร่วมกับการเขียนแผนผังวงจร (Schematic) ด้วยซอฟต์แวร์ QUARTUS PRIME ซึ่งเป็นเครื่องมือออกแบบ FPGA ระดับมืออาชีพที่รองรับ กระบวนการทำงานอย่างครบวงจรตั้งแต่การเขียนโค้ดไปจนถึงการดาวน์โหลดลงชิปจริง ผู้สนใจ สามารถเรียนรู้การออกแบบวงจรดิจิทัลในแนวทางใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยหนังสือเล่มนี้

ISBN 9786169473206
จำนวน : 246 หน้า
ขนาดรูปเล่ม : 148 x 210 มิลลิเมตร (A5)
การเข้าเล่ม : ไสกาว

» สิ่งที่จะได้รับ

หนังสือ ทฤษฎีและการทดลองวงจรดิจิทัล FPGA